วันอังคารที่ 11 กันยายน พ.ศ. 2555

ทศพิธราชธรรม

การตามรอยพระยุคลบาทด้วยทศพิธราชธรรม
พุทธทาสภิกขุ
 
๑.ทาน
 
๒.ศีล
 
๓.บริจาค
 
๔.ความซื่อตรง
 
๕.ความอ่อนโยน
 
๖.ความเพียร
 
๗.ความไม่โกรธ
 
๘.ความไม่เบียดเบียน
 
๙.ความอดทน
 
๑๐.ความเที่ยงธรรม
 
สรุปทศพิธราชธรรม

พระคาถาชินบัญชร

ที่มาของพระคาถาชินบัญชร
(ชินบัญชร อ่านว่า ชินะ- ชินนะบันชอน)
 
    พระคาถานี้เป็นหนึ่งในบทสวดมนต์ที่พุทธศาสนิกชน ชาวไทยนิยมสวดมากที่สุด สันนิษฐานว่าพระเถระชาวล้านนาเป็นผู้แต่งขึ้น และเป็นพระคาถาสำคัญในพิธีกรรมตั้งแต่ครั้งกรุงศรีอยุธยา ดังปรากฏหลักฐานในพระราชพิธีจักรพรรดิราชาธิราช
    ต่อมาได้ปรับปรุงแก้ไขให้สมบูรณ์ขึ้นโดยสมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต) พรหมรังสี วัดระฆังโฆสิตาราม สมเด็จพระพุฒาจารย์องค์ที่ ๕ แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ (สมัยรัชกาลที่ ๔)
    บทสวดชินบัญชรนี้ยังพบในประเทศพม่าและศรีลังกาอีกด้วย
 
 
    การหัดสวดคาถาชินบัญชรควรจะเริ่มสวดในวันพฤหัสบดีข้างขึ้น(ยิ่งขึ้นมากยิ่งดี)
ของที่ควรเตรียม
  • ดอกไม้ ๓ สี หรือ ดอกบัว ๙ ดอก
  • ดอกมะลิร่วง(เด็ดก้านดอก) ๑ กำ
  • ธูปหอมอย่างดี ๙ ดอก
  • เทียน (เล่มหนัก ๑ บาท ถ้าไม่มีใช้ ๒ บาท แต่ควรใช้ ๑ บาทเพื่อเป็นสิริมงคล) จำนวน ๙ เล่ม
    จากนั้นให้จุดธูปเทียนบูชาพระรัตนตรัยโดยการตั้งนะโม ๓ จบ ต่อด้วยบทพุทธคุณ ธรรมคุณ สังฆคุณ จากนั้นตั้งจิตนึกถึงสมเด็จโต

แนะนำวัด

ประวัติ
วัดไพชยนต์พลเสพย์ ราชวรวิหาร
 

วันศุกร์ที่ 7 กันยายน พ.ศ. 2555

วิชาคอมพิวเตอร์เบื้องต้น

วิชา
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 

ผู้สอน
อาจารย์ไพรวัลย์  ชูเชิดดอก
 

สร้างโดย
พระสรรเสริญ  เมติโก  (ธีโรภาส)

วัดไพชยนต์พลเสพย์ ราชวรวิหาร
ป.บส. รุ่นที่ ๙     เลขที่ ๕๔
 

ภาคเรียนที่ ๑     ปีการศึกษา ๒๕๕๕
หลักสูตรประกาศนียบัตรการบริหารกิจการคณะสงฆ์
คณะสงฆ์ภาค ๑
 

มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
วิทยาเขตบาฬีศึกษาพุทธโฆส นครปฐม